วันอังคารที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนครั้งที่ 4

วันอังคารที่ 27 ธันวาคม พ.ศ.2554
ในคาบเรียนนี้อาจารย์เข้าสอนบ่าย3 โมง ครั้งแรกนึกว่าอาจารย์จะไม่สอน แต่พออาจารย์เข้ามาก็ ได้ตรวจบล็อกของเพื่อนในกลุ่มเรียน102 แล้วได้ถามถึงคำอธิบายรายวิชา สามารถเพิ่มเติมจากชื่อรายวิชาเรียนได้และความเหมาะสมเกี่ยวกับสีห้ามใช้สีสะท้อนแสง และควรมีภาพแสดงอารมณ์ แล้วอาจารย์ก็ตรวจของดิฉันอาจารย์บอกว่าถ้าอันไหนเนื้อหามากเกินไปก็ให้ทำเป็นลิงค์ใส่ลงไปก็ได้และให้ฉันปรับเพิ่ม รวมถึงการเขียนอนุทินควรมีการบรรยายถึงบรรยากาศในห้องเรียน และความรู้สึกในการเรียนการสอนคาบนั้นด้วย

ทักษะสำคัญในการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์สหหรับเด็กปฐมวัย
-ภาษา
-คณิตศาสตร์

พัฒนาการของเด็ก->-การเรียนรู้->พัฒนาการทั้ง4ด้าน

พัฒนาทั้ง 4 ด้าน
กาย->กินอาหาร
นอนหลับพักผ่อน
กล้ามเนื้อ
การเคลื่อนไหว
จิตใจ->แสดงอารมณ์ =ชอบ,ไม่ชอบ
รับรู้อารมณ์เพื่อน
คุณธรรมจริยธรรม
สังคม ->ช่วยเหลือตนเอง
การอยู่ร่วมกัน
การมีคุณธรรมจริยธรรม=ซื่อสัตย์,แบงปัน,เอื้อเฟื้อเผื่อแพร่
สติปัญญา->ภาษา
คณิตศาสตร์=คิดสร้างสรรค์,เชิงเหตุผล
ในแต่ละวันกิจกรรมต้อง มี 4 ด้าน

*การบ้าน*
เขียนแผนตามวันที่ตนเองได้รับส่งวัน

วันอังคารที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนครั้งที่ 3

วันอังคาร ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ.2554
ในการเรียนวันนี้เรียนห้อง 224 เวลา 14.00น.อาจารย์ให้นักศึกษาลิงค์เวปของตนเองให้อาจารย์
คณิตศาสตร์ เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
สติปัญญา -> เพียเจท์
สังคม ->อิริคสัน
อารมณ์-จิตใจ -> ฟรอยด์
เสริมแรง-> สกินเนอร์

จิตวิทยาการเรียนรู้
สกินเนอร์ -> เสริมแรงทางบวก,เสริมแรงทางลบ
ฟาฟลอฟ->เสริมแรงโดยการให้รางวัล
มาสโล-> กินอิ่มนอนหลับ

แนวคิดนักการศึกษา
-จอด์น ดิวอี้ Larning by Doing
-สกินเนอร์
-ฟรอเบล การเล่นคือการทำงาน
-เดวิล เอลคายน์ จัดบรรยากาศไม่เร่งในการเรียนการสอน
-มอนเตสเซอรี่ ใช้สัมผัสเรียนผ่านการเล่น
-ไฮสโคป ใช้คำถามปลายเปิด

ลำดับการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์
1.การนับ
2.การรู้จักตัวเลข
3.การชั่งตวง
4.รูปร่าง รูปทรง
5.พื้นที่
6.การเพิ่มและลดจำนวน
7.รู้จักความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนกับตัวเลข
8.การเปรียบเทียบ
9.การจัดหมวดหมู๋
10.การจำแนกประเภท
11.การเลียงลำดับ
12.เวลา

ขอบข่ายของคณิตศาสตร์
1.การนับ เกี่ยวกับตัวเลขอันดับแรกที่เด็กรู้จัก เป็นการนับอย่างมีความหมาย
2.ตัวเลข การให้เด็กเห็นตัวเลขและใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน ด้วยการเล่นของเล่น
3.การจับคู่ ฝึกฝนให้เด็กรู้จักสังเกตลักษณะต่างๆ
4. การจัดประเภท ฝึกฝนให้รู้จักสังเกตคุณสมบัติของสิ่งต่างๆ
5.การเปรียบเทียบ สามารถบอกได้ว่าสั้นกว่ายาวกว่า หรือแคบกว่าตามที่สังเกตได้
6.การจัดลำดับ จัดสิ่งของชุดหนึ่งๆ ตามคำสั่งและกฏนั้นๆ
7.รูปทรงและเนื้อที่ แยกรูปทรงต่างๆพื้นที่กว้าง แคบ ตามที่มองเห็น
8.การวัด ให้โอกาสเด็กได้วัดด้วยตนเอง
9.เซท จัดการสอนที่เป็นเซต เซตสัตว์ เซตผลไม้
10.เศษส่วน การสอนโดยการสอนให้แบ่งขนมให้ได้3ส่วน แบ่งน้ำครึ่งแก้ว
11.การทำตามแบบหรือลวดลาย การเลียนแบบที่ดี และทำตามโดยทำซ้ำๆ
12.การอนุรักษ์

**การบ้าน**
-งานกลุ่ม 5คน ทำมายแมปสาระการเรียนรู้ และรับผิดชอบแต่ละวัน
-ลิงค์ ของอาจารย์ http://www.jajeed.blogsport.com/

วันพุธที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนครั้งที่ 2

วัน อังคาร ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2554

ในคาบเรียนนี้อาจารย์ให้ไปเรียนที่ห้อง224แต่ห้องเรียนไม่ว่างอาจารย์เลยให้ย้ายไปเรียนห้อง223ตอนเวลา13.00น. เริ้มการเปรียบเทียบคณิตศาสตร์คือสิ่งที่ใช้ในชีวิตประจำวัน อนุบาลและปฐมวัยมีความแตกต่างกันโดยรูปธรมมและนามธรรม
ปฐมวัยใช้รูปภาพและสัญลักษณ์ คณิตศาสตร์ช่วยพัฒนาด้านสติปัญญา
พัฒนาการหมายถึง การเจริญเติบโตไปมลำดับขั้นตอน สมอง->การลงมือกระทำ->ปฏิบัติจริง->การรับรู้และใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
2-4 เริ่มใช้คำศัพย์ ยังไม่ใช้เหตุผล
4-6มีการเรียนรู้คำศัพย์มากขึ้น เริ่มใช้ภาษายาวขึ้น
อนุบาล ยังไม่ใช้รูปธรรม
การทำงานของสมอง มี 2 ->ซึมซับ ->ปรับความรู้ใหม่
พัฒนาการทางสติปัญญา
ซึมซับ ->สังเกต ชิม ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
ปรับความรู้ใหม่->เกิดการเรียนรู้

วันอังคารที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนครั้งที่ 1

วันอังคาร ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2554
ในการเรียนคาบเรียนนี้เรียนที่ห้อง 445 อาจารย์ได้ทบทวนเกี่ยวกับเด็กปฐมวัย ในการจัดการเรียนการสอนต้องสอนโดยการบูรณาการ ->ผ่านกิจกรรม โดยคำนึงถึง หลักสูตร->หน่วยการเรียน->สาระการเรียนรู้->เนื้อหา จากทฤษฏี วอลดอป,มอนเตสเซอรี่,ไฮสโคป,โปรเจคแอปโพสต์,กิจกรรมหลัก โดยผ่านเครื่องมือในการสอน คือ ทักษะทางคณิตศาสตร์และทักษะทางภาษา

*การบ้าน *
1. มาตราฐานตัวชี้วัดทางคณิตศาสตร์
2. หานิทานคณิคศษสตร์คนละ 1 เรื่อง